ARTICLES

ประเภทหรือปริมาณของคาร์โบไฮเดรต ไม่มีผลต่อการลด Visceral Fat ในคนอ้วน ตราบใดที่แคลอรี่ที่กินน้อยกว่าที่ใช้ออกไป

ไม่ว่าประเภทคาร์โบไฮเดรตจะแตกต่างกัน (Acellular vs Cellular Carbohydrate) หรือปริมาณคาร์โบไฮเดรตแตกต่างกันอย่างไร ตราบใดที่จำกัดแคลอรี่ที่กินให้น้อยกว่าที่ใช้ออกไป ก็สามารถลดปริมาณ visceral fat ได้ไม่แตกต่างกัน เป็นที่ทราบกันดีว่า การเพิ่มขึ้นของ visceral adipose tissue (ไขมันที่พอกอยู่ตามอวัยวะภายใน) เกี่ยวพันกับโรคเรื้อรังต่างๆในคนอ้วน เช่น เบาหวาน ความเันโลหิตสูง มะเร็ง ไขมันในเลือดผิดปรกติ เป็นต้น มีงานวิจัยที่ระบุว่าคุณภาพของอาหาร โดยเฉพาะประเภทของคาร์โบไฮเดรต

การนอนชดเชยในวันหยุด แก้ผลเสียจากการอดนอนต่อเนื่องไม่ได้

ผลเสียต่อระบบเมตาบอลิสมและจังหวะนาฬิกาชีวภาพเนื่องจากอดนอนต่อเนื่อง ไม่สามารถแก้ไขให้กลับมาเป็นปรกติได้ด้วยการนอนหลับชดเชยในช่วงวันหยุด โลกในยุค Digital Age ทำให้สังคมมนุษย์กลายเป็น sleepless society หลังจากเลิกงานกลับถึงบ้าน ผู้คนส่วนใหญ่ก็ยังคงเสพติดการใช้งานอุปกรณ์ดิจิตอล ส่งผลกระทบให้มนุษย์ในยุคปัจจุบันอดนอนต่อเนื่อง และมักจะใช้กลยุทธ์เพิ่มชั่วโมงการนอนช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ เพื่อหวังชดเชยการอดนอนในช่วงวันทำงาน แต่ว่า…ร่างกายและจิตใจมนุษย์รับรู้ได้ถึงการอดนอนต่อเนื่องช่วงวันทำงาน และยังคงผลเสียต่อระบบเมตาบอลิสมและระบบนาฬิกาชีวภาพของร่างกาย แม้จะนอนเพิ่มชดเชยในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ก็ตาม ก่อนหน้างานวิจัยในปี 2562 ฉบับนี้ นักวิจัยยังไม่ทราบชัดเจนว่า การนอนชดเชยวันหยุดจะช่วยแก้ไขความผิดปกติของระบบเมตาบอลิสมและระบบนาฬิกาชีวภาพของร่างกายซึ่งเกิดจากการอดนอนต่อเนื่องได้หรือไม่ Prof. Kenneth P Wright หนึ่งในผู้ทำงานวิจัยฉบับนี้ เป็น

แค่เดินมากขึ้น…ก็เสี่ยงตายจากโรคต่างๆน้อยลง

งานวิจัยแบบ Systematic review and meta-analysis 3 ฉบับ ให้ผลลัพธ์ว่า “เพิ่มการเดินในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะเดินช้าหรือเร็วก็ช่วยลดความเสี่ยงจากการเสียชีวิตจากทุกสาเหตุได้” ถึงแม้ว่ามนุษย์มีวิวัฒนาการมาเพื่อสงวนการใช้พลังงาน (ย้อนดูไลฟ์สรุปหนังสือ exercised โดย Prof. Daniel E. Lieberman กันได้ค่ะ) แต่การมีกิจกรรมทางกายระหว่างวันมีความจำเป็นต่อสุขภาพที่ดีตลอดอายุขัยของมนุษย์ มนุษย์ถูกวิวัฒนาการมาให้เป็นนักเดินทน แต่การใช้ชีวิตยุคปัจจุบันที่ความมั่งคั่งเกิดจากการใช้สมองมากกว่าใช้แรงกาย ทำให้มนุษย์ลดกิจกรรมการเดินระหว่างวันไปเป็นอย่างมาก มนุษย์ประดิษฐ์เก้าอี้เพื่อนั่งเกือบทั้งวัน (uninterrupted sitting) และประดิษฐ์การออกกำลังกายขึ้นมา

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร?

Dr. Pekka Puska วีรบุรุษผู้มอบสุขภาพหัวใจใหม่แก่ชาวฟินแลนด์ ด้วยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ชีวิตอย่างถึงรากถึงโคน ผ่านการลดบริโภคไขมันอิ่มตัว ลดการสูบบุหรี่ และเพิ่มการบริโภคผักผลไม้ ใน The North Karelia Project The North Karelia Project ถือว่าเป็นโปรเจคแรกของโลกที่มีลักษณะเป็นการศึกษาแบบภายในชุมชน (Community-based study project) เป็นตัวอย่างที่ทรงพลังมากมาจนถึงบัดนี้ ที่แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตและการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการคงระดับการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ โดยเป้าหมายของโปรเจ็คนี้ รัฐบาลฟินแลนด์ต้องการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตของประชากรในเขต

งานวิจัยชี้ว่า แค่นอนเพิ่มคืนละ 1.2 ชั่วโมง ก็ช่วยลดน้ำหนักได้

งานวิจัยแบบ Ramdomized Controlled Trial ล่าสุด พบว่า แค่นอนเพิ่มคืนละ 1.2 ช.ม. ช่วยลดการกินได้ถึง 270 แคลอรี่ต่อวัน มีหลักฐานจากงานวิจัยจำนวนมากที่ให้ข้อมูลว่า การนอนน้อยกว่า 7 ชั่วโมงต่อคืนเป็นประจำ ทำให้สุขภาพโดยรวมเลวร้ายลง และแนะนำชั่วโมงการนอนที่เหมาะสมไว้ที่ 7-9 ชั่วโมง   เป็นที่รับรู้กันว่าการนอนหลับไม่เพียงพอในแต่ละคืน คือปัจจัยสำคัญที่เพิ่มความเสี่ยงโรคอ้วน น้ำหนักเกิน จาก

หนังสือสุขภาพที่ได้รับความนิยม อาจไม่ใช่หนังสือที่ให้ข้อมูลถูกต้องต่อการดูแลสุขภาพ

Critical Review on Nutrition Book: The Big Fat Surprise หนังสือสุขภาพที่ได้รับความนิยม อาจไม่ใช่หนังสือที่ให้ข้อมูลถูกต้องต่อการดูแลสุขภาพ หลังจากทำไลฟ์#51 สรุปหนังสือ Eat, Drink and Be Healthy โดย Prof.Walter Willett ตอนที่ 1 ไป พี่ปุ๋มได้แนะนำองค์กรไม่แสวงหากำไรที่ชื่อ

การออกกำลังกาย ช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนสำคัญ ให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวได้อีกครั้ง

การออกกำลังกายช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนสำคัญให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวได้อีกครั้ง

งานวิจัยล่าสุดในมนุษย์บ่งบอกถึงโมเลกุลสำคัญที่สามารถย้อนอายุกล้ามเนื้อให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวได้อีกครั้ง วารสาร Nature Aging ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ 2565 ตีพิมพ์งานวิจัยสำคัญที่ทำในมนุษย์ ชื่องานวิจัยคือ “Healthy aging and muscle function are positively associated with NAD+ abundance in humans” โดยเป็นการวิจัยร่วมระหว่างนักวิจัยจาก Maastricht University และนักวิจัยจาก

“Optimistic Bias” หนึ่งในเหตุผลสำคัญที่มนุษย์ไม่เลือกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ

“Optimistic Bias” หนึ่งในเหตุผลสำคัญที่มนุษย์ไม่เลือกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ

เมื่อวานนี้พี่ปุ๋มได้อ่านพบข้อมูลของแอดมินเพจดังมีผู้ติดตามมากกว่า 1 ล้านคน ซึ่งประสบความสำเร็จในการลดน้ำหนักได้ถึง 45 กิโลกรัม จากการ “ตระหนักรู้ถึงปัญหาสุขภาพและตัดสินใจเปลี่ยนแปลงไลฟสไตล์ตัวเอง” นอกจากได้รูปร่างใหม่ที่ดูดีแล้วยังปรับปรุงสุขภาพที่ย่ำแย่จากน้ำหนักเกินระดับรุนแรง (130 กก) เป็นเวลานานให้ดีขึ้นเป็นอย่างมาก จนสามารถกลับมาวิ่งมาราธอนได้ พี่รู้สึกยินดีมากเวลาได้ยินเรื่องแบบนี้ เพราะทำให้ย้อนคิดถึงตัวเองตอนที่ปล่อยให้น้ำหนักเกินไปถึง 92.8 กก ที่ความสูงแค่ 1.52 ม. เป็นเวลานานหลายปีโดยไม่ลงมือทำอะไร Optimistic Bias เป็นสาเหตุหนึ่งเลยค่ะ จนวันหนึ่งเมื่อ

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

แม้จะรู้ดีว่าการใช้ชีวิตส่งผลกระทบต่อสุขภาพ แต่มนุษย์ยุคดิจิทัล ก็หลุดออกจากเป้าหมายระยะยาวของการมีสุขภาพดีได้อย่างง่ายดาย ด้วยการนอนไม่พอ เครียด ไม่มีกิจกรรมทางกาย ไม่ใส่ใจคุณภาพอาหารที่รับประทาน ถึงแม้ว่าร่างกายจะถูกออกแบบมาให้ทรหดถึงที่สุด ซึ่งหมายถึงความสามารถในการปรับตัวต่อความท้าทายของสิ่งแวดล้อมได้ในระยะสั้นก็ตาม แต่ถ้าการใช้ชีวิตของเรา เช่นการนอนไม่พอเรื้อรัง ขาดกิจกรรมทางกายเป็นเวลานาน นั่งทั้งวัน รวมถึงอาหารที่บริโภคส่วนใหญ่ก็คืออาหารผ่านกระบวนการ อาหารฟาสฟู๊ด ได้กลายมาเป็นนิสัยถาวรเสียแล้ว ทุกระบบของร่างกายย่อมได้รับผลกระทบ ไม่เว้นแม้แต่การสังเคราะห์คอลลาเจนในร่างกาย 1 ใน 3 ของร่างกายประกอบไปด้วยคอลลาเจน ร่างกายของเราประกอบไปด้วยคอลลาเจน ซึ่งเป็นโปรตีนโครงสร้าง (Structural protein)

5 วิธีชะลอวัยชรา

5 วิธีชะลอวัยชรา

เดือนมกราคม พ.ศ. 2563 พี่ปุ๋มมอบของขวัญปีใหม่ให้พวกเราทุกคนด้วยวิดีโอสรุปหนังสือดีที่น่าตื่นเต้นมากคือ Lifespan : Why We age and Why We Don’t Have To ซึ่งเขียนโดย Prof.David A Sinclair และ Matthew D Laplante จำนวน 4

ทำไม exercise ถึงมีประโยชน์ดุจยาวิเศษต่อร่างกายมนุษย์

ทำไม exercise ถึงมีประโยชน์ดุจยาวิเศษต่อร่างกายมนุษย์

ในไลฟ์ #33 (เรื่อง Exercise won’t make you thin but it will make you ALIVE ตอนจบ  พี่วาง Link YouTube ทั้ง 2 ตอนที่ด้านล่างบทความ สำหรับน้องๆที่ยังไม่ได้ชม) พี่อ้างอิงถึงเลคเชอร์ที่ดีมาก โดย Prof.

พันธุกรรมทำให้บางคนสุ่มเสี่ยงต่อความอ้วนมากกว่าอีกคน ในสิ่งแวดล้อมทางอาหารยุคปัจจุบัน

นอกเหนือจาก Energy Expenditure ซึ่ง Assc.Prof. Herman Pontzer บอกว่า เป็นเรื่องที่มนุษย์เข้าใจผิดมากที่สุดใน Energy Homeostasis อย่างเช่นเข้าใจว่าเราสามารถควบคุม Energy Expenditure ได้ ทั้งๆที่ “The Cost of doing nothing” ที่เกิดจากการทำงานของทุกเซลล์ แค่อวัยวะภายในสำคัญ 5 อวัยวะ

Sleep Nutrition Lifestyle Lifespan Circadian Rhythm Bone Broth Intermittent Fasting

ประเภทหรือปริมาณของคาร์โบไฮเดรต ไม่มีผลต่อการลด Visceral Fat ในคนอ้วน ตราบใดที่แคลอรี่ที่กินน้อยกว่าที่ใช้ออกไป

การนอนชดเชยในวันหยุด แก้ผลเสียจากการอดนอนต่อเนื่องไม่ได้

แค่เดินมากขึ้น…ก็เสี่ยงตายจากโรคต่างๆน้อยลง

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร?

งานวิจัยชี้ว่า แค่นอนเพิ่มคืนละ 1.2 ชั่วโมง ก็ช่วยลดน้ำหนักได้

หนังสือสุขภาพที่ได้รับความนิยม อาจไม่ใช่หนังสือที่ให้ข้อมูลถูกต้องต่อการดูแลสุขภาพ

การออกกำลังกาย ช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนสำคัญ ให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวได้อีกครั้ง

การออกกำลังกายช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนสำคัญให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวได้อีกครั้ง

“Optimistic Bias” หนึ่งในเหตุผลสำคัญที่มนุษย์ไม่เลือกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ

“Optimistic Bias” หนึ่งในเหตุผลสำคัญที่มนุษย์ไม่เลือกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

5 วิธีชะลอวัยชรา

5 วิธีชะลอวัยชรา