ARTICLES

“ The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 3)

“The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 3)

บริโภคใยอาหารสูงลดโรคเรื้อรังได้อย่างไร? สรุปเล็คเชอร์ดี “The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 3) จาก Assc.Prof.Erica Sonnenburg, Stanford Center for Clinical Research เล็คเชอร์ของ Dr.Erica Sonnenburg

“ The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 1)

“ The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 1)

สรุปเล็กเชอร์ดี “The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 1) โดย Assc.Prof.Erica SonnenburgStanford Center for Clinical Research ตามที่พี่ปุ๋มสัญญาไว้ว่าจะสรุปเล็กเชอร์ดีของ Assc.Prof.Erica Sonnenburg จาก Stanford Center for

อาหารหมักด้วยจุลินทรีย์เพิ่มความหลากหลายของประชากรจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร และลด

อาหารหมักด้วยจุลินทรีย์เพิ่มความหลากหลายของประชากรจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร และลดภาวะอักเสบ

พี่ปุ๋มติดตามนักวิจัยอาวุโสด้านจุลชีววิทยาและภูมิคุ้มกัน 2 ท่าน จาก Stanford School of Medicine ซึ่งเป็นสามี-ภรรยากันคือ Assc.Prof.Justin และ Assc.Prof.Erica Sonnenburg จากการที่พี่อ่านหนังสือดีชื่อ The Good Gut ที่ทั้งสองคนเขียนในปี 2558 จากนั้นพี่ก็ตามฟังเล็กเชอร์ของ Erica และ Justin มาตลอด ทั้งสองคน ทำงานวิจัยทั้งในสัตว์ทดลองและในมนุษย์

ความเข้าใจผิด 5 ประการ เกี่ยวกับภาวะอักเสบภายในร่างกาย

ความเข้าใจผิด 5 ประการ เกี่ยวกับภาวะอักเสบภายในร่างกาย

ภาวะอักเสบภายในร่างกายได้กลายมาเป็นหัวข้อบทความสุขภาพที่เขียนถึงกันอย่างกว้างขวางใน 4-5 ปีที่ผ่านมา พร้อมกับการวางตลาดของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องดื่ม ที่อ้างอิงหลักฐานงานวิจัยว่าช่วยลดภาวะอักเสบภายในร่างกายได้ นอกจากนั้นยังมีหนังสือที่ว่าด้วยเมนูอาหารเฉพาะสำหรับต้านภาวะอักเสบอีกจำนวนหนึ่งด้วยเช่นกัน บทความนี้จะอธิบายความเข้าใจผิดสำคัญเกี่ยวกับภาวะอักเสบ 5 ประการ และได้รับข้อมูลเพิ่มเติมว่า ทำไมความเข้าใจร่างกายว่าตอบสนองหลังมื้ออาหารอย่างไร จะสามารถช่วยให้แต่ละคนต่อสู้ภาวะอักเสบภายในร่างกายได้ผ่านรูปแบบโภชนาการส่วนบุคคล ความเข้าใจผิดข้อที่ 1 : ภาวะอักเสบทุกประเภทไม่ดีต่อร่างกาย ไม่จริงเลย เพราะภาวะอักเสบเป็นปฏิกิริยาตอบสนองทางชีวะวิทยาที่เป็นปกติของร่างกาย มีบทบาทสำคัญในกระบวนการเยียวยาร่างกาย มีภาวะอักเสบหลายประเภทซึ่งเกิดจากตัวกระตุ้นที่แตกต่างกัน ประเภทแรกคือ ภาวะอักเสบเฉียบพลัน ซึ่งชื่อก็บ่งบอกแล้วว่าเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด เพื่อตอบสนองการติดเชื้อหรือการบาดเจ็บ โดยปกติจะหายไปในเวลาไม่กี่ชั่วโมงหรือเป็นวัน ตัวอย่างเช่น มีดบาดมือและติดเชื้อ

คอกาแฟเฮ...ดื่มกาแฟดีต่อสุขภาพ ประชากรจุลินทรีย์ทางเดินอาหาร

คอกาแฟเฮ…ดื่มกาแฟดีต่อสุขภาพประชากรจุลินทรีย์ทางเดินอาหาร

ข้อมูลจาก British Coffee Association พบว่า ในแต่ละวันผู้คนทั่วโลกดื่มกาแฟประมาณ 2 พันล้านถ้วยเพื่อการเริ่มวันใหม่อย่างมีพลัง แต่ว่า…การดื่มกาแฟของเรามีผลอต่อสุขภาพประชากรจุลินทรีย์ทางเดินอาหารอย่างไรบ้าง บทความนี้มีคำตอบค่ะ คนอเมริกัน 60% ดื่มกาแฟอย่างน้อยหนึ่งแก้วต่อวัน ในขณะที่เราหวังพึ่งกาแฟเพื่อให้รู้สึกตื่นตัว มีหลักฐานงานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่าการดื่มกาแฟมีประโยชน์ต่อสุขภาพกว้างขวางมากกว่าที่เราคิด ได้แก่ ลดความเสี่ยงโรคเบาหวาน หัวใจ พาร์กินสัน อัลไซเมอร์ และมะเร็งหลายประเภท แต่เคยสงสัยไหมคะว่า กาแฟส่งผลอย่างไรบ้างต่อประชากรจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร เราได้พูดคุยเรื่องนี้กับ Dr.Nicola

5 สัญญาณที่บ่งชี้สุขภาพทางเดินอาหาร

5 สัญญาณที่บ่งชี้สุขภาพทางเดินอาหาร

ไลฟ์ระยะหลัง (ราวๆ 6 ไลฟ์ ชมไลฟ์ทาง YouTube ในลิงค์ท้ายบทความ) พี่มักจะสรุปข้อมูลจากหนังสือสุขภาพ textbooks หรืองานวิจัยดีๆ ที่แสดงให้เห็นความเกี่ยวพันระหว่างประชากรจุลินทรีย์ในทางเดินอาหารกับอวัยวะต่างๆ ซึ่งนำไปสู่ความมีสุขภาพดีองค์รวม ไลฟ์ # 29 ที่เพิ่งผ่านไป มีข้อมูลว่าทางเดินอาหารมีความสำคัญต่อสุขภาพร่างกายอย่างเป็นองค์รวม เพราะ เป็นเพียงอวัยวะเดียวที่ 1. มีระบบประสาทเป็นของตัวเอง (Enteric Nervous System) ที่สามารถสื่อสารเชื่อมโยงกับทุกอวัยวะในร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับสมอง 2. มีระบบต่อมไร้ท่อที่ถือได้ว่าใหญ่ที่สุดในร่างกายผลิตฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับระบบเมตาบอลิสม นอกจากนั้นยังเป็นที่ผลิตโมเลกุลส่งสัญญาณสำคัญที่เป็น

งานวิจัยชี้ ใส่หูฟังเปิดเสียงดัง ประสาทหูจะพังก่อนวัย

งานวิจัยชี้ ใส่หูฟังเปิดเสียงดัง ประสาทหูจะพังก่อนวัย

ใส่หูฟัง เพื่อความเพลิดเพลินส่วนตัว แต่เปิดเสียงดังต่อเนื่องวันละหลายชั่วโมงคืออันตรายต่อความสามารถในการได้ยิน หูฟังคือหนึ่งในอุปกรณ์ยอดนิยมที่ใช้กับสมาร์ทโฟนของผู้คนในปัจจุบัน ทั้งที่เป็นแบบสายที่แถมมากับมือถือ หรือแบบบลูธูท ทั้งแบบครอบหู เอียร์พอด หรือ เอียร์บัด ไม่ว่าจะแบบไหนๆก็ตาม เราจะเห็นผู้คนมากมายที่เดินบนท้องถนน บนรถไฟฟ้า หรือแม้แต่กำลังออกกำลังกาย สร้างความบรรเทิงส่วนตัวด้วยการฟังเพลง พอดแคสต์ หรือยูทูบ กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต  แต่คำถามสำคัญก็คือความบันเทิงส่วนตัวเหล่านี้มันจะมีผลต่อระบบประสาทการรับเสียงของเราในระยะยาวอย่างไร? งานวิจัยเร็วๆ นี้พบว่า การใช้หูฟังด้วยระดับเสียงที่ดังและต่อเนื่องจะทำให้เกิดการสูญเสียความสามารถการได้ยินในอนาคต  เด็กและคนหนุ่มสาวที่ใช้หูฟังเสียงดังเกินมาตรฐานจะมีปัญหาการสูญเสียการได้ยินก่อนวัยอันควร ความเสี่ยงนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะเจาะจงกับ เด็ก

เด็กที่ถูกเลี้ยงดูด้วยอาหารประดิษฐ์อนาคตจะเป็นแบบนี้...

เด็กที่ถูกเลี้ยงดูด้วยอาหารประดิษฐ์อนาคตจะเป็นแบบนี้…

นักวิจัยกล่าวว่า เด็กที่ถูกพ่อแม่เลี้ยงดูด้วยอาหารประดิษฐ์ จะเติบโตขึ้นมาพร้อมปัญหาเรื่องน้ำหนักตัว น้ำหนักตัวเกินกำหนดจะทำให้อนาคตของเด็กเหล่านั้นมีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดหัวใจ และ เบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญยังกล่าวอีกว่าอาหารประดิษฐ์ยังก่อให้เกิดความเสียหายในระดับเซลล์ของเด็กๆ และยังนำไปสู่การมีนิสัยการกินอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพในระยะยาว สาเหตุที่อาหารประดิษฐ์เป็นที่นิยมในการนำมาเลี้ยงดูเด็ก ก็เพราะว่ามันมีราคาถูก หาง่าย และสะดวกกว่าการเตรียมอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการต่อสุขภาพนั่นเอง อาหารประดิษฐ์ทำให้เด็กอ้วนและอมโรคตอนโต งานศึกษาชิ้นหนึ่ง  ที่ตีพิมพ์ในวารสารทางการแพทย์ JAMA Pediatrics ได้ติดตามการใช้ชีวิตของเด็กจำนวน 9,000 คนในประเทศอังกฤษ ที่ถูกเลี้ยงดูด้วยอาหารประดิษฐ์ หรือ อาหารที่มีแคลอรี่สูง และ ประกอบไปด้วยสารปรุงแต่ง

โลกที่ขาดแคลนความมืดนำไปสู่ปัญหาการนอนไม่หลับของมนุษย์

โลกที่ขาดแคลนความมืดนำไปสู่ปัญหาการนอนไม่หลับของมนุษย์

โลกกำลังสร้างสังคม “ขาดแคลนความมืด” นำไปสู่ปัญหาการนอนไม่หลับซึ่งควรที่จะหลีกเลี่ยงได้ พี่ปุ๋มมาสรุปให้ต่อสำหรับการสัมภาษณ์ Prof.Matthew Walker 3 ช.ม.เต็มทางช่อง Rich Roll Channel ใน Youtube พี่วางลิงค์ไว้ตรงแหล่งข้อมูลแล้วค่ะ ในบทความตอนที่แล้ว พี่ปุ๋มสรุปเรื่องอุณหภูมิภายในห้องนอนที่เหมาะสมต่อการนอนหลับ และความสม่ำเสมอของเวลาในการเข้านอน ไปเรียบร้อย ซึ่งเป็น 2 ปัจจัยแรก ที่ Prof.Matthew Walker ตอบคำถามที่ทุกคนอยากรู้คือ ถ้าจะให้สรุปว่าอะไรคือ

เปิดแอร์เย็นแค่ไหนถึงทำให้คุณหลับสนิท ผู้เชี่ยวชาญมีคำตอบ

เปิดแอร์เย็นแค่ไหน ถึงทำให้คุณหลับสนิท ผู้เชี่ยวชาญมีคำตอบ

อุณหภูมิห้องที่เหมาะสมเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดสำหรับการนอนหลับอย่างมีคุณภาพพี่ปุ๋มมาสรุปให้ต่อสำหรับการสัมภาษณ์ Prof.Matthew Walker 3 ช.ม.เต็มทางช่อง Rich Roll Channel ใน Youtube พี่วางลิงค์ไว้ตรงแหล่งข้อมูลแล้วค่ะ ในบทความตอนที่แล้ว Prof.Matthew Walker ตอบคำถามที่ทุกคนอยากรู้คือ ถ้าจะให้สรุปว่าอะไรคือ Best Practice ในการนอนหลับอย่างมีคุณภาพ เขาคิดว่ามีอะไรบ้าง คำตอบของเขามีดังนี้ค่ะ 1. อุณหภูมิภายในห้องนอน2. ความสม่ำเสมอของเวลาเข้านอน3. เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและ/หรือแอลกอฮอล์4. ความมืดในห้องนอน5. กิจกรรมทางกายระหว่างวัน

Sleep Nutrition Lifestyle Lifespan Circadian Rhythm Bone Broth Intermittent Fasting

ประเภทหรือปริมาณของคาร์โบไฮเดรต ไม่มีผลต่อการลด Visceral Fat ในคนอ้วน ตราบใดที่แคลอรี่ที่กินน้อยกว่าที่ใช้ออกไป

การนอนชดเชยในวันหยุด แก้ผลเสียจากการอดนอนต่อเนื่องไม่ได้

แค่เดินมากขึ้น…ก็เสี่ยงตายจากโรคต่างๆน้อยลง

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร?

งานวิจัยชี้ว่า แค่นอนเพิ่มคืนละ 1.2 ชั่วโมง ก็ช่วยลดน้ำหนักได้

หนังสือสุขภาพที่ได้รับความนิยม อาจไม่ใช่หนังสือที่ให้ข้อมูลถูกต้องต่อการดูแลสุขภาพ

การออกกำลังกาย ช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนสำคัญ ให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวได้อีกครั้ง

การออกกำลังกายช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนสำคัญให้กลับไปเป็นหนุ่มสาวได้อีกครั้ง

“Optimistic Bias” หนึ่งในเหตุผลสำคัญที่มนุษย์ไม่เลือกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ

“Optimistic Bias” หนึ่งในเหตุผลสำคัญที่มนุษย์ไม่เลือกกินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

5 วิธีชะลอวัยชรา

5 วิธีชะลอวัยชรา