New Topics icons

NUTRITION

โภชนาการ

Omega-6 มีประโยชน์ต่อสุขภาพหลอดเลือดหัวใจ

Omega-6 มีประโยชน์ต่อสุขภาพหลอดเลือดหัวใจ

กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน Omega-6 มีประโยชน์ต่อสุขภาพหลอดเลือดหัวใจ Polyunsaturated fats: The Omega-6 Debate in Science Simon Hill สัมภาษณ์ Prof.Bill Harris นักวิจัยที่เชี่ยวชาญทั้ง omega-3 และ omega-6 มามากกว่า 30 ปี เรามักจะได้ยิน health influencers

ประเภทหรือปริมาณของคาร์โบไฮเดรต ไม่มีผลต่อการลด Visceral Fat ในคนอ้วน ตราบใดที่แคลอรี่ที่กินน้อยกว่าที่ใช้ออกไป

ไม่ว่าประเภทคาร์โบไฮเดรตจะแตกต่างกัน (Acellular vs Cellular Carbohydrate) หรือปริมาณคาร์โบไฮเดรตแตกต่างกันอย่างไร ตราบใดที่จำกัดแคลอรี่ที่กินให้น้อยกว่าที่ใช้ออกไป ก็สามารถลดปริมาณ visceral fat ได้ไม่แตกต่างกัน เป็นที่ทราบกันดีว่า การเพิ่มขึ้นของ visceral adipose tissue (ไขมันที่พอกอยู่ตามอวัยวะภายใน) เกี่ยวพันกับโรคเรื้อรังต่างๆในคนอ้วน เช่น เบาหวาน ความเันโลหิตสูง มะเร็ง ไขมันในเลือดผิดปรกติ เป็นต้น มีงานวิจัยที่ระบุว่าคุณภาพของอาหาร โดยเฉพาะประเภทของคาร์โบไฮเดรต

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร

อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 73% ฟินแลนด์ทำได้อย่างไร?

Dr. Pekka Puska วีรบุรุษผู้มอบสุขภาพหัวใจใหม่แก่ชาวฟินแลนด์ ด้วยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ชีวิตอย่างถึงรากถึงโคน ผ่านการลดบริโภคไขมันอิ่มตัว ลดการสูบบุหรี่ และเพิ่มการบริโภคผักผลไม้ ใน The North Karelia Project The North Karelia Project ถือว่าเป็นโปรเจคแรกของโลกที่มีลักษณะเป็นการศึกษาแบบภายในชุมชน (Community-based study project) เป็นตัวอย่างที่ทรงพลังมากมาจนถึงบัดนี้ ที่แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตและการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการคงระดับการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ โดยเป้าหมายของโปรเจ็คนี้ รัฐบาลฟินแลนด์ต้องการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำเนินชีวิตของประชากรในเขต

หนังสือสุขภาพที่ได้รับความนิยม อาจไม่ใช่หนังสือที่ให้ข้อมูลถูกต้องต่อการดูแลสุขภาพ

Critical Review on Nutrition Book: The Big Fat Surprise หนังสือสุขภาพที่ได้รับความนิยม อาจไม่ใช่หนังสือที่ให้ข้อมูลถูกต้องต่อการดูแลสุขภาพ หลังจากทำไลฟ์#51 สรุปหนังสือ Eat, Drink and Be Healthy โดย Prof.Walter Willett ตอนที่ 1 ไป พี่ปุ๋มได้แนะนำองค์กรไม่แสวงหากำไรที่ชื่อ

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

6 ไลฟสไตล์ ที่ซูเปอร์ชาร์จคอลลาเจน

แม้จะรู้ดีว่าการใช้ชีวิตส่งผลกระทบต่อสุขภาพ แต่มนุษย์ยุคดิจิทัล ก็หลุดออกจากเป้าหมายระยะยาวของการมีสุขภาพดีได้อย่างง่ายดาย ด้วยการนอนไม่พอ เครียด ไม่มีกิจกรรมทางกาย ไม่ใส่ใจคุณภาพอาหารที่รับประทาน ถึงแม้ว่าร่างกายจะถูกออกแบบมาให้ทรหดถึงที่สุด ซึ่งหมายถึงความสามารถในการปรับตัวต่อความท้าทายของสิ่งแวดล้อมได้ในระยะสั้นก็ตาม แต่ถ้าการใช้ชีวิตของเรา เช่นการนอนไม่พอเรื้อรัง ขาดกิจกรรมทางกายเป็นเวลานาน นั่งทั้งวัน รวมถึงอาหารที่บริโภคส่วนใหญ่ก็คืออาหารผ่านกระบวนการ อาหารฟาสฟู๊ด ได้กลายมาเป็นนิสัยถาวรเสียแล้ว ทุกระบบของร่างกายย่อมได้รับผลกระทบ ไม่เว้นแม้แต่การสังเคราะห์คอลลาเจนในร่างกาย 1 ใน 3 ของร่างกายประกอบไปด้วยคอลลาเจน ร่างกายของเราประกอบไปด้วยคอลลาเจน ซึ่งเป็นโปรตีนโครงสร้าง (Structural protein)

5 วิธีชะลอวัยชรา

5 วิธีชะลอวัยชรา

เดือนมกราคม พ.ศ. 2563 พี่ปุ๋มมอบของขวัญปีใหม่ให้พวกเราทุกคนด้วยวิดีโอสรุปหนังสือดีที่น่าตื่นเต้นมากคือ Lifespan : Why We age and Why We Don’t Have To ซึ่งเขียนโดย Prof.David A Sinclair และ Matthew D Laplante จำนวน 4

“ The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 3)

“The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 3)

บริโภคใยอาหารสูงลดโรคเรื้อรังได้อย่างไร? สรุปเล็คเชอร์ดี “The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 3) จาก Assc.Prof.Erica Sonnenburg, Stanford Center for Clinical Research เล็คเชอร์ของ Dr.Erica Sonnenburg

“ The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 1)

“ The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 1)

สรุปเล็กเชอร์ดี “The Gut Microbiota as a lever to improve human health” (ตอนที่ 1) โดย Assc.Prof.Erica SonnenburgStanford Center for Clinical Research ตามที่พี่ปุ๋มสัญญาไว้ว่าจะสรุปเล็กเชอร์ดีของ Assc.Prof.Erica Sonnenburg จาก Stanford Center for

อาหารหมักด้วยจุลินทรีย์เพิ่มความหลากหลายของประชากรจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร และลด

อาหารหมักด้วยจุลินทรีย์เพิ่มความหลากหลายของประชากรจุลินทรีย์ในทางเดินอาหาร และลดภาวะอักเสบ

พี่ปุ๋มติดตามนักวิจัยอาวุโสด้านจุลชีววิทยาและภูมิคุ้มกัน 2 ท่าน จาก Stanford School of Medicine ซึ่งเป็นสามี-ภรรยากันคือ Assc.Prof.Justin และ Assc.Prof.Erica Sonnenburg จากการที่พี่อ่านหนังสือดีชื่อ The Good Gut ที่ทั้งสองคนเขียนในปี 2558 จากนั้นพี่ก็ตามฟังเล็กเชอร์ของ Erica และ Justin มาตลอด ทั้งสองคน ทำงานวิจัยทั้งในสัตว์ทดลองและในมนุษย์

ความเข้าใจผิด 5 ประการ เกี่ยวกับภาวะอักเสบภายในร่างกาย

ความเข้าใจผิด 5 ประการ เกี่ยวกับภาวะอักเสบภายในร่างกาย

ภาวะอักเสบภายในร่างกายได้กลายมาเป็นหัวข้อบทความสุขภาพที่เขียนถึงกันอย่างกว้างขวางใน 4-5 ปีที่ผ่านมา พร้อมกับการวางตลาดของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและเครื่องดื่ม ที่อ้างอิงหลักฐานงานวิจัยว่าช่วยลดภาวะอักเสบภายในร่างกายได้ นอกจากนั้นยังมีหนังสือที่ว่าด้วยเมนูอาหารเฉพาะสำหรับต้านภาวะอักเสบอีกจำนวนหนึ่งด้วยเช่นกัน บทความนี้จะอธิบายความเข้าใจผิดสำคัญเกี่ยวกับภาวะอักเสบ 5 ประการ และได้รับข้อมูลเพิ่มเติมว่า ทำไมความเข้าใจร่างกายว่าตอบสนองหลังมื้ออาหารอย่างไร จะสามารถช่วยให้แต่ละคนต่อสู้ภาวะอักเสบภายในร่างกายได้ผ่านรูปแบบโภชนาการส่วนบุคคล ความเข้าใจผิดข้อที่ 1 : ภาวะอักเสบทุกประเภทไม่ดีต่อร่างกาย ไม่จริงเลย เพราะภาวะอักเสบเป็นปฏิกิริยาตอบสนองทางชีวะวิทยาที่เป็นปกติของร่างกาย มีบทบาทสำคัญในกระบวนการเยียวยาร่างกาย มีภาวะอักเสบหลายประเภทซึ่งเกิดจากตัวกระตุ้นที่แตกต่างกัน ประเภทแรกคือ ภาวะอักเสบเฉียบพลัน ซึ่งชื่อก็บ่งบอกแล้วว่าเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใด เพื่อตอบสนองการติดเชื้อหรือการบาดเจ็บ โดยปกติจะหายไปในเวลาไม่กี่ชั่วโมงหรือเป็นวัน ตัวอย่างเช่น มีดบาดมือและติดเชื้อ